สรุปงานวิจัย
วิจัย
ชื่อวิจัย การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบต่อภาพ
ชื่อผู้วิจัย ลดาวรรณ ดีสม
นิยาม
การเรียนแบบต่อภาพ
หมายถึง เทคนิคการเรียนแบบร่วมมืออย่างหนึ่งที่สมาชิกกลุ่มเหย้าแต่ละคนต้องไปศึกษาค้นคว้าในส่วนที่ได้รับมอบหมายร่วมกับเพื่อนในกลุ่มเหย้าอื่น ซึ่งเป็นกลุ่มใหม่เรียกว่ากลุ่มผู้เชี่ยวชาญแล้วนำความรู้ที่ได้กลับมาสอนให้แก่สมาชิกกลุ่มเหย้าเดิม ได้เรียนรู้ภาพรวมทั้งหมด เพื่อให้เกิดมโนทัศน์ในเรื่องที่เรียนตามจุดประสงค์การเรียนการสอน
กิจกรรมการเรียนแบบต่อภาพ
ชื่อผู้วิจัย ลดาวรรณ ดีสม
นิยาม
การเรียนแบบต่อภาพ
หมายถึง เทคนิคการเรียนแบบร่วมมืออย่างหนึ่งที่สมาชิกกลุ่มเหย้าแต่ละคนต้องไปศึกษาค้นคว้าในส่วนที่ได้รับมอบหมายร่วมกับเพื่อนในกลุ่มเหย้าอื่น ซึ่งเป็นกลุ่มใหม่เรียกว่ากลุ่มผู้เชี่ยวชาญแล้วนำความรู้ที่ได้กลับมาสอนให้แก่สมาชิกกลุ่มเหย้าเดิม ได้เรียนรู้ภาพรวมทั้งหมด เพื่อให้เกิดมโนทัศน์ในเรื่องที่เรียนตามจุดประสงค์การเรียนการสอน
กิจกรรมการเรียนแบบต่อภาพ
หมายถึง การสอนที่จัดกลุ่มเด็กเป็นกลุ่มละ กลุ่มละ 4 คน เรียกว่ากลุ่มเหย้าซึ่งสมาชิกในกลุ่มเหย้าทั้ง 4 คน จะได้รับมอบหมายให้ไปศึกษาเนื้อหาคนละส่วน โดยไปศึกษาร่วมกับเพื่อนในสมาชิกกลุ่มเหย้าอื่นที่ได้รับมอบหมายในเรื่องเดียวกัน ซึ่งเกิดเป็นกลุ่มใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญนี้จะศึกษาเนื้อหาแตกต่างกันไปตามลักษณะของข้อมูลที่ได้รับในแต่ละหัวข้อย่อย โดยศึกษาจากสื่อ อุปกรณ์ที่ครูจัดเตรียมไว้ให้แล้วปรึกษาหารือกันเพื่อสรุปเป็นมโนทัศน์ในเรื่องที่ศึกษา พร้อมกับนำความรู้ที่ได้กลับไปเสนอต่อเพื่อนกลุ้มเหย้าเดิม ซึ่งความรุ้ที่สรปได้จากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญและสมาชิกนำกลับมาเสนอต่อกลุ่มเหย้านั้น จะก่อให้ได้เกิดการเรียนรู้ภาพรวมทั้งหมดของเนื้อหาที่ต้องการให้เด็กเรียนรู้ในแต่ละวัน ซึ่งมีขั้นตอนการจัดกิจกรรมดังนี้
ขั้นนำ
เป็นกิจกรรมเตรียมเด็กเข้าสู่บทเรียนโดยการสนทนา ใช้คำถาม เพลง คำคล้องจอง ปริศนา คำทาย หรือสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความต้องการและเกิดความสนใจที่จะเรียน
ขั้นดำเนินการสอน
กำหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องเรียนในแต่ละวัน ครุชี้แจงจุดประสงค์และวิธีการเรียน ซึ่งดำเนินการจากกลุ่มเหย้าและกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ และสรุปข้อความรู้ร่วมกันให้เป็นไปตรามหัวข้อเรื่องที่เรียนในแต่ละวัน
ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปข้อความรู้ในเรื่องที่เรียนโดยใช้กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ได้มโนทัศน์ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ประจำวัน
ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
การสังเกต หมายถึง ความสามารถในการบอกความแตกต่าง บอกลำดับวัตถุ จัดสิ่งของให้เป็นหมวดหมู่ โดยใช้เกณฑ์ในการจัดแบ่ง เช่น ความเหมือน ความต่างหรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
การวัด หมายถึง การใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึางวัดหาปริมาณของสิ่งต่างๆ เป็นหน่วยวัดที่มีหรือไม่มีมาตราฐานซึ่งอาจไม่มีหนวยกำกับก็ได้ เช่น นิ้ง คือ ศอก เป็นต้น รวมถึงการกะปริมาณความหนักเบาของวัตถุ
การหามิติสัมพันธ์ หมายถึง ความสามารถในการบอกความสัมพันธ์ระหว่างมิติต่างๆ ของวัตถุหรือตำแหน่งของวัตถุ ได้แก่ รูปทรง ขนาด ตำแหน่ง พื้นที่ สถานที่ และระยะทาง
การลงความเห็นจากข้อมูล หมายถึง ความสามารถในการอธิบาย หรือแสดงความคิดเห็นหรือสรุปผลจากข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การวัด การสัมผัส หรือการทดลองได้อย่างมีเหตุผล
ขั้นนำ
เป็นกิจกรรมเตรียมเด็กเข้าสู่บทเรียนโดยการสนทนา ใช้คำถาม เพลง คำคล้องจอง ปริศนา คำทาย หรือสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความต้องการและเกิดความสนใจที่จะเรียน
ขั้นดำเนินการสอน
กำหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องเรียนในแต่ละวัน ครุชี้แจงจุดประสงค์และวิธีการเรียน ซึ่งดำเนินการจากกลุ่มเหย้าและกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ และสรุปข้อความรู้ร่วมกันให้เป็นไปตรามหัวข้อเรื่องที่เรียนในแต่ละวัน
ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปข้อความรู้ในเรื่องที่เรียนโดยใช้กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ได้มโนทัศน์ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ประจำวัน
ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
การสังเกต หมายถึง ความสามารถในการบอกความแตกต่าง บอกลำดับวัตถุ จัดสิ่งของให้เป็นหมวดหมู่ โดยใช้เกณฑ์ในการจัดแบ่ง เช่น ความเหมือน ความต่างหรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
การวัด หมายถึง การใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึางวัดหาปริมาณของสิ่งต่างๆ เป็นหน่วยวัดที่มีหรือไม่มีมาตราฐานซึ่งอาจไม่มีหนวยกำกับก็ได้ เช่น นิ้ง คือ ศอก เป็นต้น รวมถึงการกะปริมาณความหนักเบาของวัตถุ
การหามิติสัมพันธ์ หมายถึง ความสามารถในการบอกความสัมพันธ์ระหว่างมิติต่างๆ ของวัตถุหรือตำแหน่งของวัตถุ ได้แก่ รูปทรง ขนาด ตำแหน่ง พื้นที่ สถานที่ และระยะทาง
การลงความเห็นจากข้อมูล หมายถึง ความสามารถในการอธิบาย หรือแสดงความคิดเห็นหรือสรุปผลจากข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การวัด การสัมผัส หรือการทดลองได้อย่างมีเหตุผล
แหล่งที่มา : thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Ladawan_D.pdf
สรุปวิทยาศาสตร์จากโทรทัศน์ครู
โทรทัศน์ครู
โดยโทรทัศน์ สนุกวิทย์ ครูสง่า
โรงเรียน ดาราคราม
โดยการปูพื้นฐานให้กับเด็กก่อน การสังเกต การสัมผัส แท่งโลหะ 1 แท่ง ครูต้องมีสื่อมาให้เด็กดูเพื่อให้เด็กได้สังเกตมองเห็นจริง ครูสง่า สอนเรื่องเสียง โดยเสียงเกิดขึ้นจากมวลเนื้อวัตถุ คลื่นเสียงเกิดจากการกระแทก การกระทบ จากการสั่นของวัตถุ
อุกรณ์
1. โลหะ 1 แท่ง
2. ซ้อม
3. สปริง
4. แก้วน้ำ
วิธีเล่น
1. น้ำโลหะมาตีซ้อม จะเกิดการสั้น
2. น้ำซ้อมที่สั่นจ่มลงกับแก้วน้ำ น้ำจะเกิดการสั่นสะเทือน
3. เด็กสังเกตการสั่นสะเทือนของผิวน้ำ
สรุป น้ำเกิดการสั้นเพราะซ้อมโดนโลหะตีและ ซ้อมก็จะเกิดเสียงเมื่อโดยวัตถุกระทบ
แหล่งที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=FKc8nKOJUKE
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น